ข้าราชการท้องถิ่นกัน คืออะไร ?
ข้าราชการส่วนท้องถิ่น ทำหน้าที่ปฏิบัติราชการในส่วนขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นทั่วประเทศไทย ประกอบด้วย
- องค์การบริหารส่วนจังหวัด (อบจ.)
- องค์การบริหารส่วนตำบล (อบต.)
- เทศบาล
ทั้งนี้การสอบท้องถิ่นจะสามารถเลือกเขตที่จะสอบบรรจุได้ การเปิดรับสมัครจะแบ่งเป็นภาคและเขต จำนวนทั้งสิ้น 10 เขต ตามตำแหน่งและอัตราว่างตามเขตหรือภาคนั้นๆ อีกด้วย
10 เขตท้องถิ่นที่รับสมัครมีที่ไหนบ้าง
1. ภาคกลาง เขต 1
- จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
- จังหวัดสิงห์บุรี
- จังหวัดชัยนาท
- จังหวัดลพบุรี
- จังหวัดนนทบุรี
- จังหวัดอ่างทอง
- จังหวัดปทุมธานี
2. ภาคกลาง เขต 2
- จังหวัดฉะเชิงเทรา
- จังหวัดจันทบุรี
- จังหวัดชลบุรี
- จังหวัดสมุทรปราการ
- จังหวัดนครนายก
- จังหวัดตราด
- จังหวัดระยอง
- จังหวัดปราจีนบุรี
- จังหวัดสระแก้ว
3. ภาคกลาง เขต 3
- จังหวัดประจวบคีรีขันธ์
- จังหวัดนครปฐม
- จังหวัดกาญจนบุรี
- จังหวัดสมุทรสาคร
- จังหวัดเพชรบุรี
- จังหวัดสมุทรสงคราม
- จังหวัดราชบุรี
- จังหวัดสุพรรณบุรี
1. ภาคเหนือ เขต 1
- จังหวัดพะเยา
- จังหวัดเชียงราย
- จังหวัดแม่ฮ่องสอน
- จังหวัดเชียงใหม่
- จังหวัดแพร่
- จังหวัดลำพูน
- จังหวัดน่าน
- จังหวัดลำปาง
2. ภาคเหนือ เขต 2
- จังหวัดนครสวรรค์
- จังหวัดตาก
- จังหวัดอุทัยธานี
- จังหวัดกำแพงเพชร
- จังหวัดพิจิตร
- จังหวัดสุโขทัย
- จังหวัดพิษณุโลก
- จังหวัดเพชรบูรณ์
- จังหวัดอุตรดิตถ์
1. ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เขต 1
- จังหวัดนครราชสีมา
- จังหวัดขอนแก่น
- จังหวัดบุรีรัมย์
- จังหวัดชัยภูมิ
- จังหวัดมหาสารคราม
- จังหวัดกาฬสินธุ์
2. ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เขต 2
- จังหวัดอุบลราชธานี
- จังหวัดศรีสะเกษ
- จังหวัดมุกดาหาร
- จังหวัดสุรินทร์
- จังหวัดยโสธร
- จังหวัดอำนาจเจริญ
- จังหวัดร้อยเอ็ด
3. ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เขต 3
- จังหวัดสกลนคร
- จังหวัดอุดรธานี
- จังหวัดเลย
- จังหวัดบึงกาฬ
- จังหวัดนครพนม
- จังหวัดหนองคาย
- จังหวัดหนองบัวลำภู
1. ภาคใต้ เขต 1
- จังหวัดนครศรีธรรมราช
- จังหวัดสุราษฎร์ธานี
- จังหวัดชุมพร
- จังหวัดกระบี่
- จังหวัดภูเก็ต
- จังหวัดระนอง
- จังหวัดพังงา
2. ภาคใต้ เขต 2
- จังหวัดสงขลา
- จังหวัดพัทลุง
- จังหวัดนราธิวาส
- จังหวัดปัตตานี
- จังหวัดตรัง
- จังหวัดยะลา
- จังหวัดสตูล
ตัวอย่างตำแหน่งงานข้าราชการท้องถิ่น
- นักจัดการงานทั่วไป
- นักจัตการงานทะเบียนและบัตร
- นักทรัพยากรบุคคล
- นักประชาสัมพันธ์
- นักป้องกันและบรรเท
- สาธารณภัย
- นักผังเมือง
- นักพัฒนาชุมชน
- นักวิเคราะห์นโยบายและแผน
- นักวิชาการเกษตร
- นักวิชาการคลัง
- นักวิชาการเงินและบัญชี
- นักวิชาการศึกษา
- นักสังคมสงเศราะห์
- นิติกร
- วิศวกรเครื่องกล
- วิศวกรไฟฟ้า
- วิศวกรโยธา
- สถาปนิก
- เจ้าพนักงานการเงินและบัญชี
- เจ้าพนักงานเกษตร
- เจ้าพนักงานคลัง
- เจ้าพนักงานจัดเก็บรายได้
- เจ้าพนักงานทะเบียน
- เจ้าพนักงานทะเบียนและบัตร
- เจ้าพนักงานทันตสาธารณสุข
- เจ้าพนักงานเทศกิจ
- เจ้าพนักงานธุรการ
- เจ้าพนักงานประชาสัมพันธ์
- เจ้าพนักงานประปา
- เจ้าพนักงานพัฒนาชุมชน
- เจ้าพนักงานพัสดุ
- เจ้าพนักงานศูนย์เยาวชน
- เจ้าพนักงานสวนสาธารณะ
- เจ้าพนักงานสาธารณสุข
- เจ้าพนักงานสุขาภิบาล
- นายช่างเขียนแบบ
- นายช่างเครื่องกล
- นายช่างผังเมือง
- นายช่างไฟฟ้า
- นายช่างโยธา
- นายช่างสำรวจ
- สัตวแพทย์
- ครูผู้ช่วยเอกภาษาไทย
- ครูผู้ช่วยเอกเกษตร
- ครูผู้ช่วยเอกคณิตศาสตร์
- ครูผู้ช่วยเอกคหกรรม
- ครูผู้ช่วยเอกคอมพิวเตอร์
- ครูผู้ช่วยเอกเคมี
- ครูผู้ช่วยเอกจีน
- ครูผู้ช่วยเอกชีววิทยา
- ครูผู้ช่วยเอกดนตรีไทย
- ครูผู้ช่วยเอกดนตรีสากล
- ครูผู้ช่วยเอกทะเบียนและ
- วัดผล
- ครูผู้ช่วยเอกเทคโนการศึกษา
- ครูผู้ช่วยเอกนาฏศิลป์
- ครูผู้ช่วยเอกแนะแนว
- ครูผู้ช่วยเอกบรรณารักษ์
- ครูผู้ช่วยเอกปฐมวัย
- ครูผู้ช่วยเอกประถมศึกษา
- ครูผู้ช่วยเอกพลศึกษา
- ครูผู้ช่วยเอกภาษาอังกฤษ
- ครูผู้ช่วยเอกวิทยาศาสตร์
- ครูผู้ช่วยเอกศิลปะ
- ครูผู้ช่วยเอกสังคมศึกษา
- ครูผู้ดูแลเด็ก
สรุป
จะเห็นได้ว่าข้าราชการท้องถิ่นมีหลากหลายอาชีพมาก ๆ และมักจะใช้ความรู้ความสามารถที่เฉพาะเจาะจงกับตำแหน่งนั้น ๆ คนที่เรียนจบสาขาเฉพาะทางด้านไหนมา ต้องตรวจสอบให้ดีว่าคุณสมบัติวุฒิที่จบมาตรงกับตำแหน่งที่เปิดรับหรือไม่ แต่ที่แน่ ๆ สอบท้องถิ่นก็มีการสอบภาค ก, ภาค ข, ภาค ค เช่นเดียวกับข้าราชการอื่นๆ ด้วย ดังนั้นแล้วต้องเตรียมตัวอ่านหนังสือให้ดี ไม่ยากเกินความสามารถของทุก ๆ คนแน่นอน